จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (อันดับที่ 44 ของเอเชีย)
มหาวิทยาลัยมหิดล (52)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (96)
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (108)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (130)
มหาวิทยาลัยขอนแก่น (148)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (153)
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (156)
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (251-260)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (291-300)
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (301-350)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (351-400)
มหาวิทยาลัยนเรศวร (351-400)
มหาวิทยาลัยศิลปากร (351-400)
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ (401-450)
มหาวิทยาลัยบูรพา (401-450)
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง (401-450)
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (401-450)
มหาวิทยาลัยหอการค้า (451-500)
***
สำหรับน้องๆ คนไหนที่อยากจะเข้าเรียนต่อ จุฬาอินเตอร์ แนะนำเลยต้องควรเตรียมตัวตั้งแต่เนิ่นๆ
โดยเริ่มต้น ควรเริ่มเรียน CU-TEP หรือ เรียน IELTS ตั้งแต่ ม.5 แล้วควรสอบให้ผ่าน
พอ ม.6 น้องก็ควรรีบเรียน SAT เก็บคะแนน ซึ่งยิ่งคะแนนสูงยิ่งมีโอกาสติดเยอะขึ้น
แล้วหากน้องคนไหนสนใจจะเข้าสายวิทย์ เช่น วิศวะ หรือแพทย์ อย่าลืม เผื่อเวลา เรียน CU-ATS , เรียน TBAT ด้วย
ส่วนน้องสอบเทียบ ควรวางแผน ติว GED ควบคุ่กับการเก็บคะแนนภาษาอังกฤษ พวก CU-TEP IELTS TOEFL เมื่อได้คะแนนภาษาอังกฤษแล้ว ค่อยมาเก็บคะแนน SAT
หากวางแผนแบบนี้น้องจะมีโอกาสสอบติดจุฬา อินเตอร์ ได้แน่!!!
ตัวชี้วัด (Indicators) และ ค่าน้ำหนัก (Weightings) ในการจัดอันดับครั้งนี้ ประกอบด้วย
1 | ชื่อเสียงทางด้านวิชาการ 30% (Academic reputation)
2 | ทัศนคติของนายจ้างที่มีต่อบัณฑิต 20% (Employer Reputation)
3 | สัดส่วนอาจารย์/บุคลากรต่อนักศึกษา 10% (Faculty Student ratio)
4 | เครือข่ายผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ 10% (International Research Network)
5 | สัดส่วนงานวิจัยที่ถูกนำไปใช้อ้างอิง 10% (Citations per Paper)
6 | สัดส่วนงานวิจัยที่ได้ตีพิมพ์ 5% (Papers per faculty)
7 | บุคลากรที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก 5% (Staff with PhD)
8 | สัดส่วนอาจารย์ชาวต่างชาติ 2.5% (Proportion of international faculty)
9 | สัดส่วนนักศึกษาชาวต่างชาติ 2.5% (Proportion of international students)
10 | สัดส่วนนักศึกษาต่างชาติที่มาแลกเปลี่ยน 2.5% (Proportion of inbound exchange students)
11 | สัดส่วนนักศึกษาที่ไปแลกเปลี่ยนต่างประเทศ 2.5% (Proportion of outbound exchange students)
(ปีนี้การจัดอันดับ
QS Asia University Rankings ได้เพิ่มตัวชี้วัดจากปีก่อนอีก 1 อย่าง คือ
International Research Network โดยการใช้ข้อมูลจากการตีพิมพ์ร่วมกับนักวิจัยชาวต่างประเทศในฐานข้อมูล Scopus)
ที่มา : www.topuniversities.com