การจัดอันดับมหาวิทยาลัยของ The Times Higher Education World University Rankings จะใช้หลักเกณฑ์การตัดสินครอบคลุมด้านการเรียนการสอน ผลงานวิจัย การถ่ายทอดความรู้ และมุมมองจากนานาชาติเป็นหลัก โดยการตัดสินจะใช้ตัวชี้วัด 13 ตัวซึ่งจะให้น้ำหนักแต่ตางกันออกไป เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบอันดับได้ครอบคลุมมากที่สุด เกิดความสมดุลมากที่สุด และได้รับความไว้วางใจจากทั้ง นักเรียน นักศึกษา นักวิชาการ ผู้นำมหาวิทยาลัย ภาคอุตสาหกรรม และรัฐบาล
ตัวชี้วัดต่างๆ ของ The Times Higher Education World University Rankings ประกอบด้วย 5 ด้าน 13 ตัวชี้วัด ได้แก่
ด้านการเรียนการสอน (สภาพแวดล้อมในการเรียน) 30 % แบ่งเป็น
ผลสำรวจความมีชื่อเสียง 15%
อัตราส่วนนักศึกษาต่อพนักงาน 4.5%
อัตราส่วนปริญญาเอกต่อปริญญาตรี 2.25%
อัตราส่วนผู้ได้รับปริญญาเอกต่อเจ้าหน้าที่วิชาการ 6%
รายได้ของสถาบัน 2.25%
ด้านผลงานวิจัย (ปริมาณรายได้ และชื่อเสียง) 30% แบ่งเป็น
ผลสำรวจความมีชื่อเสียง 18%
รายได้งานวิจัย 6%
ผลผลิตงานวิจัย 6%
ด้านการอ้างอิง (ผลงานวิจัยที่ถูกนำไปอ้างอิง) 30%
มุมมองจากนานาชาติ (เจ้าหน้าที่ นักศึกษา และงานวิจัย) 7.5% แบ่งเป็น
อัตรานักศึกษาต่างชาติ 2.5%
อัตราเจ้าหน้าที่ต่างชาติ 2.5%
ความร่วมมือระหว่างประเทศ 2.5%
รายได้จากภาคอุตสาหกรรม (การถ่ายทอดความรู้) 2.5%
เป็นรายได้ที่ภาคอุตสาหกรรมยอมจ่ายเพื่อความร่วมมือด้านงานวิจัย และความสามารถของมหาวิทยาลัยที่จะดึงดูดรายได้จากตลาดการค้า
การจัดอันดับมหาวิทยาลัยของ The Times Higher Education World University Rankings จะใช้หลักเกณฑ์การตัดสินครอบคลุมด้านการเรียนการสอน ผลงานวิจัย การถ่ายทอดความรู้ และมุมมองจากนานาชาติเป็นหลัก โดยการตัดสินจะใช้ตัวชีวัด 13 ตัวซึ่งจะให้น้ำหนักแต่ตางกันออกไป เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบอันดับได้ครอบคลุมมากที่สุด ให้เกิดความสมดุลมากที่สุด และได้รับความไว้วางใจจากทั้ง นักเรียน นักศึกษา นักวิชาการ ผู้นำมหาวิทยาลัย ภาคอุตสาหกรรมรม และรัฐบาล
ตัวชีวัดต่างๆ ของ The Times Higher Education World University Rankings ประกอบด้วย 5 ด้าน 13 ตัวชีวัด ได้แก่
ด้านการเรียนการสอน (สภาพแวดล้อมในการเรียน) 30 % แบ่งเป็น
ผลสำรวจความมีชื่อเสียง 15%
อัตราส่วนนักศึกษาต่อพนักงาน 4.5%
อัตราส่วนปริญญาเอกต่อปริญญาตรี 2.25%
อัตราส่วนผู้ได้รับปริญญาเอกต่อเจ้าหน้าที่วิชาการ 6%
รายได้ของสถาบัน 2.25%
ด้านผลงานวิจัย (ปริมาณรายได้ และชื่อเสียง) 30% แบ่งเป็น
ผลสำรวจความมีชื่อเสียง 18%
รายได้งานวิจัย 6%
ผลผลิตงานวิจัย 6%
ด้านการอ้างอิง (ผลงานวิจัยที่ถูกนำไปอ้างอิง) 30%
มุมมองจากนานาชาติ (เจ้าหน้าที่ นักศึกษา และงานวิจัย) 7.5% แบ่งเป็น
อัตรานักศึกษาต่างชาติ 2.5%
อัตราเจ้าหน้าที่ต่างชาติ 2.5%
ความร่วมมือระหว่างประเทศ 2.5%
รายได้จากภาคอุตสาหกรรม (การถ่ายทอดความรู้) 2.5%
เป็นรายได้ที่ภาคอุตสาหกรรมยอมจ่ายเพื่อความร่วมมือด้านงานวิจัย และความสามารถของมหาวิทยาลัยที่จะดึงดูดรายได้จากตลาดการค้า
โดยมีผลการจัดอันดับ ดังนี้
อันดับปี 2017 | มหาวิทยาลัย | อันดับปี 2016 |
---|---|---|
501-600 | มหาวิทยาลัยมหิดล | 501 - 600 |
601-800 | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | 601 - 800 |
601-800 | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | 601 - 800 |
800+ | มหาวิทยาลัยขอนแก่น | 601 - 800 |
601-800 | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | 601 - 800 |
800+ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | 601 - 800 |
601-800 | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี | 601 - 800 |
800+ | สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง | |
800+ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |